เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลาโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
- ครู -
หน่วยการเรียนรู้ : ขบวนการตัวเลข2
ภูมิหลัง : คณิตศาสตร์ในQuarterนี้เป็นการต่อยอดความรู้เดิมตลอดการเรียนรู้ในเนื้อหาQuarter 2/59 ในเนื้อหาที่ผ่านมาเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับการดำเนินการเป็นส่วนใหญ่ การเรียนรู้ในที่ต่อเนื่องจากสาระการวัดคือเรขาคณิตและบูรณาการเนื้อหาเข้าสู่พีชคณิต โดยเป้าหมายส่วนหนึ่งที่ครูวางแผนไว้ก็คือ
นักเรียนทบทวนความเข้าใจการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแบบรูปและความสัมพันธ์พร้อมมีวิธีคิดที่หลากหลาย เข้าใจเกี่ยวรูปร่างกับรูปทรงสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆได้ แล้วนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้อย่างเหมาะสม
เป้าหมายความเข้าใจ : นักเรียนทบทวนความเข้าใจการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแบบรูปและความสัมพันธ์พร้อมมีวิธีคิดที่หลากหลาย เข้าใจเกี่ยวรูปร่างกับรูปทรงสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆ และนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ปฏิทินการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ขบวนการตัวเลข3
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 / 2559
..
..
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||||
1
|
โจทย์
ทบทบกิจกรรม
-ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คำถาม
- นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้
- เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดเกม
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด เกี่ยวกับการแก้โจทย์ปัญหาสถานการณ์การคิด "แยมเจ้าปัญหา"
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้ ”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “เรื่องใดบ้างพี่ๆ
อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้”
*นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ ในQ.3/59
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมแยมเจ้าปัญหา
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
||||
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
|
||||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||||
2-3
|
โจทย์
- ความสัมพันธ์แบบรูปตัวเลข
- ความสัมพันธ์แบบรูปของรูปร่าง รูปทรง ขนาด
- ความสัมพันธ์ประยุกต์โจทย์ปัญหา
คำถาม
นักเรียนจะสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ตัวอย่างความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์คุณฉุยชั่งน้ำมัน
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์แบบรูป
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบรูป
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์แบบรูป
- นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์แบบรูป
- นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์แบบตัวเลขทั้ง 1 ชั้นและ 2 ชั้นตามลำดับความง่ายไปหายาก
-
นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์แบบตัวเลขทั้ง 1ชั้นและ 2 ชั้น
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์แบบตัวเลข
-
นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์ตัวเลขพร้อมอธิบายและให้เหตุผล
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ
การคูณ และการหารที่มีความซับซ้อน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับโจทย์ปัญหานั้น พร้อมให้เหตุผล
- นักเรียนแก้โจทย์ปัญหา
พร้อมแสดงวิธีการคิดและให้เหตุผล
- นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาจาก
ประโยคสัญลักษณ์ที่ครูกำหนดให้
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกม108IQ
, เกม 24
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์แบบรูป
- นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์แบบรูป
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์แบบตัวเลข
- นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์ตัวเลขพร้อมอธิบายและให้เหตุผล
- นักเรียนแก้โจทย์ปัญหา พร้อมแสดงวิธีการคิดและให้เหตุผล
- นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาจาก ประโยคสัญลักษณ์ที่ครูกำหนดให้
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ
มองเห็นรูปแบบ (patter)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันอื่นๆ พร้อมให้เหตุผลได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
||||
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4-5
|
โจทย์
-
ความสัมพันธ์การบวกและการลบ
คำถาม
นักเรียนจะนำกระบวนการคิดของการบวก
และการลบไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์หาไม้กางเขน
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาการบวก เพื่อกระตุ้นการคิด
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการบวก
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาการลบ เพื่อกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการลบ
- นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมหาไม้กางเขน
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน
เห็นความสัมพันธ์ของการบวกและการลบสามารถแก้ปัญหาสร้างกระบวนการคิดที่หลากหลาย
และวางแผนเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน
: ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6-7
|
โจทย์
ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
คำถาม
นักเรียนคิดว่าการคูณและการหารเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
มีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์กล่องของเล่น
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูพานักเรียนเล่นเมกิจกรรมการคิด
- ทบทวนความรู้จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ทบทวนเกี่ยวกับการคูณและการหารโดยเริ่มจากจำนวน 1หลัก 2 หลักและ 3 หลักตามลำดับ
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ เพื่อกระตุ้นการคิด
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการคูณ
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาการหาร เพื่อกระตุ้นการคิด
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการหาร
- นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมคิดได้ไหม
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่และทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
เพื่อนำมาดำเนินการคูณและการหารได้
อีกทั้งมองเห็นความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน
: ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8-9
|
โจทย์
การรวบรวมและจำแนกข้อมูล
คำถาม
นักเรียนจะมีวิธีการจัดการกับข้อมูลที่มีจำนวนมากให้เข้าใจง่ายได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ตารางข้อมูลต่างๆ
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์หาคำตอบ
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- นักเรียนสังเกตข้อมูลต่างๆ ในรูปแบบของตาราง
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกับเกี่ยวกับตารางข้อมูลต่างๆ
- นักเรียนสำรวจความชอบของเพื่อนๆ ภายในห้องเกี่ยวกับเรื่อง สี
วิชาที่เรียน เป็นต้น
- นักเรียนสำรวจสิ่งต่างๆ เช่น ไข่ไก่ ไข่เป็ด วิชาที่ชอบ อาหารที่ชอบของพี่ๆ
น้องๆ พร้อมจดบันทึก
- จำแนกข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมหาคำตอบ
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง
และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- ออกแบบเครื่องมือในการสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูล
- ออกแบบตารางในการจัดการข้อมูล
- นำเสนอข้อมูลที่ตนเองสำรวจมา
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถจำแนกข้อมูลต่างๆ โดยจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบตารางพร้อมให้เหตุผลและนำเสนอข้อมูลของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน) ระดับชั้น ป.3 Quarter 2/59
คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 2
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศการเรียนรู้คณิต
|
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร”
“นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 2 “
- นักเรียนและครูร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกันจัดนิทรรศการการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และความเชื่อมโยงของวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน และร่วมจัดนิทรรศการถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน)
ระดับชั้น ป.3 Quarter 3/59 |
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมตัวเลขมายากล
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยต่างๆที่เรียนมา และสรุปองค์ความรู้ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน : ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
..................................
..................................